โรคเลือดจางทาลัสซีเมีย (อังกฤษ: thalassaemia) เป็นโรคเลือดจางที่มีสาเหตุมาจากมีความผิดปกติทางพันธุกรรม
ทำให้มีการสร้างโปรตีนที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของเม็ดเลือดผิดปกติ
จึงทำให้เม็ดเลือดแดงมีอายุสั้นกว่าปกติ แตกง่าย ถูกทำลายง่าย ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้จึงมีเลือดจาง
โรคนี้พบได้ทั้งหญิงและชายปริมาณเท่าๆ กัน
ถ่ายทอดมาจากพ่อและแม่ทางพันธุกรรมพบได้ทั่วโลก
และพบมากในประเทศไทยด้วยเช่นกันอ่านเพิ่มเติม
วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2559
โรคดักแด้ หรือ Epidermolysis Bullosa
โรคดักแด้ หรือ Epidermolysis Bullosa (EB)
เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์
เกิดจากความผิดปกติของยีนที่ควบคุมการสร้างผิวหนัง หากมีคุณพ่อคุณแม่ หรือมีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคนี้มาก่อน
ก็สามารถ่ายทอดผ่านทางยีนเด่น (Autosomal
dominant) มาสู่ลูกได้อ่านเพิ่มเติม
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรัง และก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพ ก่อให้เกิดปัญหากับ
ฟันและเหงือก ตา ไต หัวใจ หลอดเลือดแดง
ท่านผู้อ่านสามารถป้องกันโรคแทรกซ้อนต่างๆได้ โดยการปรับ อาหาร การออกกำลังกาย
และยาให้เหมาะสม
ท่านผู้อ่านสามารถนำข้อเสนอแนะจากบทความนี้ไปปรึกษากับแพทย์ที่รักษาท่านอยู่
ท่านต้องร่วมมือกับคณะแพทย์ที่ทำการรักษาเพื่อกำหนดเป้าหมายการรักษา
บทความนี้เชื่อว่าจะช่วยท่านควบคุมเบาหวานได้ดีขึ้นอ่านเพิ่มเติม
โรคฮีโมฟีเลีย Hemoplilia เลือดออกง่าย หยุดยาก
โรคฮีโมฟีเลีย เลือดออกง่าย หยุดยาก
ในคนปกติเมื่อเกิดอุบัติเหตุแขนขาถลอก
หรือมีดบาดเพียงเล็กน้อยยังรู้สึกเจ็บปวด
ยิ่งหากมีเลือดไหลออกมาด้วยก็ยิ่งเพิ่มความเจ็บปวดขึ้นไปอีก แต่รู้หรือไม่ว่า
ยังมีผู้ป่วยอีกกลุ่มหนึ่งที่ต้องทรมานกับอาการที่เรียกว่า โรคเลือดออกง่ายหยุดยาก
หรือ โรคฮีโมฟีเลีย ( Hemoplilia
) ซึ่งหากผู้ป่วยกลุ่มนี้มีอุบัติอ่านเพิ่มเติม
โรคที่เกิดจากพันธุกรรม
โรคตาบอดสี (Color Blindness)
ตาบอดสี (อังกฤษ: Color blindness) เป็นโรคชนิดหนึ่งของดวงตาเมื่อเป็นแล้วจะส่งผลให้การแปรภาพของสีต่าง
ๆ ที่มองเห็นผิดเพี้ยนไป จากผู้อื่นที่เป็นตาปกติ ภาวะตาบอดสีนั้น
เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวันและในสังคมมากพอสมควรอ่านเพิ่มเติม
โรคจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
ปัญหาสุขภาพที่สำคัญคืออันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างแพร่หลายเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและมีเกษตรกรส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้สารเคมีฯที่ไม่ถูกต้อง
ปลอดภัย ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพทั้งเฉียบพลันและอ่านเพิ่มเติม
โรคหอบหืดจากการประกอบอาชีพ
โรคหอบหืดจากการประกอบอาชีพ (Occupational asthma)
เกิดจากการทำงานสัมผัสกับสารก่อโรคในที่ทำงาน
ซึ่งอาจเป็นการสัมผัสสารกลุ่มน้ำหนักโมเลกุลต่ำ เช่น สารยึดติด สารเคลือบต่าง ๆ
สารเคมีที่ใช้ในกระบวนการผลิตโพลิเมอร์ ผลิตอีพอกซีย์ และไอที่เกิดจาก
การชุบเชื่อมโลหะต่าง ๆ การสัมผัสสารก่อโรค
ชนิดน้ำหนักโมเลกุลสูง
เป็นสารที่เกิดจากผลผลิตทางชีวภาพ ได้แก่ เชื้อรา แบคทีเรีย แมลง พืช ต่าง
ๆ เช่น เครื่องเทศ กาแฟ ละหุ่ง ถั่วเหลือง
เกสรดอกไม้ แป้ง เป็นต้นอ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)